วัสดุเฟอร์นิเจอร์ห้องปฏิบัติการ

วัสดุเฟอร์นิเจอร์ห้องปฏิบัติการ

เฟอร์นิเจอร์ในห้องปฎิบัติการ ที่ทำด้วย วัสดุไม้ เฟอร์นิเจอร์ในห้องปฎิบัติการ ที่ทำด้วย Polypropylene (PP)

 

เฟอร์นิเจอร์ห้องปฏิบัติการ วัสดุไม้

วัสดุชนิดนี้ เรียกว่า ไม้ปาติเกิลบอร์ดเคลือบเมลามีน ส่วนใหญ่จะใช้ขนาดความหนาที่ 16 มม. เพื่อประกอบเป็นตัวตู้ โต๊ะปฎิบัติการ และถ้าเป็นส่วนของหน้าบาน และหน้าลิ้นชัก จะปิดด้วยแผ่นลามิเนท ขนาด 0.8 มม. เพื่อป้องกันรอยขีดข่วน

วัสดุชนิดนี้ สาหรับงานไม่ได้สัมผัสกับสารเคมี จะถูกนามาทาเป็น Work Top ซึ่งมีความหนาหลายขนาด ให้เลือก เช่น 20,25,28 มม.

ข้อดี ประหยัดค่าใช้จ่ายสาหรับลูกค้าที่งบประมาณน้อย

ข้อเสีย ถ้าพื้นที่ติดตั้ง มีความชื้นหรือเสี่ยงสัมผัสน้า จะมีโอกาสเสียหายได้ง่าย รวมถึงห้องที่มีความร้อน มีโอกาสที่จะผุกร่อนได้เช่นกัน

----------------

เฟอร์นิเจอร์ห้องปฏิบัติการ วัสดุไม้

วัสดุชนิดนี้ เรียกว่า ไม้อัด ส่วนใหญ่จะใช้ขนาด ความหนาที่ 15 มม. และต้องปิดด้วยแผ่นลามิเนท ขนาด 0.8 มม. ทุกชิ้นส่วน เพื่อประกอบเป็นตัวตู้โต๊ะปฎิบัติการรวมถึงชิ้นหน้าบานและหน้าลิ้นชัก เพื่อป้องกันรอยขีดข่วน

วัสดุชนิดนี้ สาหรับงานที่ไม่ได้สัมผัสกับสารเคมี จะถูกนามาทาเป็น Work Top มีความหนาที่ 15 มม.

ข้อดี จะมีความแข็งแรงทนทานและทนความชื้น น้า และความร้อนได้ดีกว่าไม้ปาติเกิลบอร์ด

ข้อเสีย จะมีราคาที่สูงกว่าไม้ปาติเกิลบอร์ด ประมาณ 2 เท่า และความเรียบของพื้นผิวจะไม่ดีเท่าไม้ปาติเกิลบอร์ด

------------------------

เฟอร์นิเจอร์ห้องปฏิบัติการ วัสดุ Polypropylene (PP)

วัสดุชนิดนี้ เรียกว่า โพลีโพรพิลีน Polypropylene (PP) วัสดุชนิดนี้นอกจาก จะทนสารเคมีแล้ว ยังมีความแข็งแรงทนทาน สามารถเคลื่อนย้ายได้โดยไม่หักงอง่ายๆ รวมถึงการทนอุณหภูมิสูงๆไม่กร่อน กรอบหรือแตกง่ายและยังทนต่อน้า ทนต่อความชื้น และไม่ต้องกังวลเรื่องการเกิดสนิม เพราะทุก Part จะทาด้วยวัสดุโพลีโพรพิลีน และได้รับการยอมรับว่าเป็น เม็ดพลาสติก Food Grade ที่มีความปลอดภัย และไม่มีการปนเปื้อนหรือไม่เกิด Contamination จากฝุ่นผง ละอองของวัสดุที่ทาจากไม้ เหมาะสาหรับห้องแลปเคมี ห้องแลปจุลชีวะ และห้องแลป ที่มีความชื้น รวมถึงห้องแลปที่มีความร้อนสะสมด้วย

วัสดุชนิดนี้ ยังมีคุณสมบัติในการต้านทานไฟฟ้าไม่เป็นสื่อกลางการนาไฟฟ้าอีกด้วย จึงทาให้ผู้ปฎิบัติการในห้องปฏิบัติการ หมดความกังวลใจในเรื่องของไฟฟ้ารั่วที่โต๊ะปฎิบัติการอีกด้วย

ข้อเสีย จะมีราคาที่สูงกว่าไม้

------------------------

วัสดุชนิดนี้ เรียกว่า Chemical resistant compact (Phenolic resin) ขนาดความหนาที่ 16 มม. จะใช้เป็น Work top โดยจะเหมาะกับงานที่มีการใช้สารเคมีที่โต๊ะปฏิบัติการ เพราะจะทนต่อสารเคมี น้า และเชื้อรา โดย 80-90% ผู้ใช้จะเลือกให้เป็น Work top สาหรับโต๊ะปฎิบัติการ

ข้อดี ทนต่อสารเคมี ทนต่อน้า

ข้อเสีย ราคาสูง